วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้ง 15

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน 27 กันยายน พ.ศ. 2556
เวลา 13:10-16:40 น
เวลาเข้าสอน 13:10 เวลาเข้าเรียน 13:10 เวลาเลิกเรียน 16:40




สิ่งที่ได้จากการเรียน
วันนี้ได้เขียนมายแม็บสรุปประโยชน์ที่ได้กับการเรียนในวิชานี้








 

อาจารย์ผู้สอน

นำไปใช้ประโยชน์
- ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัย
- พัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของตนเอง
- เพื่อเป็นแนวการจัดประสบการณ์ในห้องเรียน

เรียนครั้งที่ 14

บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน 20  กันยายน พ.ศ. 2556
เวลา 13 :10-16:40
เวลาเข้าสอน 13:10  เวลาเข้าเรียน 13:10 เวลาเลิกเรียน 16:40

สิ่งที่ได้จากการเรียน
ได้รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม การร่วมมือกันอย่างพร้อมเพียง และสามารถไปจัดประสบการณ์แก่เด็กปฐมวัย

หน่วยผีเสื้อ


ขั้นตอนการทำงาน





 สามารถนำไปใช้ประโยชน์
     
    จัดให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์ในธรรมชาติที่สามารถจำลองจากของจริงได้เห็น และศึกษาผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามประสบการณ์ในห้องเรียนโดยย่อ



วันจันทร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 13







บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน 13 กันยายน พ.ศ 2556
เวลา 13:10-16:40 น.



เวลาเข้าสอน 13:10 เวลาเข้าเรียน 13:10 เวลาเลิกเรียน 16:40









สิ่งที่ได้จากการเรียน


การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
- แบ่งกลุ่มเพื่อออกแบบการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย





มุมเศษฐกิจพอเพียง


มุมอาเซี้ยน


มุมดนตรี


มุมบทบาทสมมุติ


มุมครัว



กลุ่มของดิฉันได้จัดมุมการเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์น้ำ









ขั้นตอนการทำสื่อ


ประโยชน์ของมุมสัตว์น้ำ

-ให้เด็กเห็นสัตว์น้ำของจริงและจำลองสถานการณ์ใต้น้ำให้มาอยู่ในห้องเรียน

-เด็กเกิดการเล่นแบบเป็นกลุ่ม

-เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อเพื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
















นำไปใช้ประโยชน์

-จัดการเรียนรู้ให้แก่เด็กให้เด็กเกิดการเห็นภาพจากของจริงและการจำลองสถานที่ที่เด็กอาจจะไม่เคยเห็น
-นำไปเสริมทักษะและเป็นแบบสื่อพัฒนาภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย






















  

เรียนครั้งที่ 12

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน 6 กันยายน พ.ศ 2556
เวลา 13:10-16:40 น.


เวลาเข้าสอน 13:10 เวลาเข้าเรียน 13:10 เวลาเลิกเรียน 16:40


สิ่งที่ได้จากการเรียน





อาจารย์ให้อาสาสมัครออกมาจับฉลาก และถ้าใครจับเป็นรูปสัตว์อะไรได้ก็ทำท่าทางออกให้เพื่อนทายแต่ห้ามออกเสียงให้เพื่อนรู้ มีสัตว์ สุนัข งู เป็นต้น


การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนเกี่ยวกับภาษา
    การจัดรูปแบบการเรียนรู้ตามภาษาควรให้เด็กมีส่วนร่วมในการเปิดการเรียนรู้จึงแสดงบทบาทในตามมุมต่างๆ และควรมีสิ่งของเพื่อเป็นบทบาทการเรียนรู้ กับพื้นที่ในตามมุมควรจะสดวกแก่เด็กมาที่


ภาพการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนแบบภาษา


วันนี้อาจารย์ให้คัดพยัญชนะไทย44ตัว ตัวบรรจงเต็มบรรทัด

นำไปใช้ประโยชน์
    - เพื่อจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัย
   -  เป็นตัวช่วยให้เด็กเกิดจินตนาการอย่างเต็มสักยภาพ
    



                                                            

วันพุธที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556
เวลา 13.10-16.40 น.


เวลาเข้าสอน 13.10 เวลาเรียน 13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40


สิ่งที่ได้จากการเรียน
  
แบ่งกลุ่ม 5 คน ช่วยกันคิดสื่อพํฒนาภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

เกมจับคู่ภาพพยัญชนะ


  
แบ่งกลุ่มทำสื่อ





นำไปใช้ประโยชน์

- ได้พัฒนาสื่อต่อไป ได้ส่งเสริมสื่อเพื่อไปจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็ก ให้เด็กได้รู้จักคิด และแก้ปัญหาในการเล่นเกมการศึกษา 
 - ได้้รู้จักแนวทางใหม่ๆของสื่อแต่ละกลุ่มอีกด้วย

เรียนครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556
เวลา 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 เวลาเรียน 13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40

สิ่งที่ได้จากการเรียน 


ได้รู้จักรูปแบบของสื่อในการเรียนการสอน หรือนำเสนอให้เด็กได้เรียนรู้ เพื่อกระตุ้นพัฒนาการอย่างสมบูรณ์แบบ







อี ..ดอก..จิก


หมาบางแก้ว


ประเภทของสื่อ

1.สื่อสิ่งพิมพ์ คือ สื่อตัวอักษรที่เป้นตัวเชื่อมโยงระหว่างครูกับเด็ก เช่น หนังสือนิทาน ป้ายสัญลักษณ์เกม เป็นต้น
2.สื่อวัสดุอุปกรณ์ คือ สิ่งของต่างๆที่เป็นตัวจำลองจากของจริง เช่น ตุ๊กตานิ้วมือ หุ้นในตัวละครนิทาน เพื่อเด็กจะได้รู้จักสัตว์ที่เด็กๆอาจยังไม่เคยเห็นจากตัวจริง
3.สื่อโสตทัศน์อุปกรณ์ คือ  สื่อประเภทเครื่องอุปกรณ์ต่างๆ เช่นคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่น VCD VDO
4.สื่อกิจกรรม คือ การกระทำทางด้านความคิดที่เด็กต้องเผชิญกับตัวเด็กว่าควรจะทำอะไร เช่น การรับบทบาทในการเล่นละคร นิทาน ทั้งนี้คือบทบาทสมมุตินั้นเอง
5.สื่อบริบท คือ สื่อที่อยู่รอบข้างจากตัวเด็กเด็กอาจเห็นและทำได้จริงจากรอบข้างอย่างเช่น วัด โรงเรียน บ้าน ชุมชน เป็นต้น



นำไปใช้ประโยชน์


 สื่อที่ด้เรียนรู้ และปฎิบัติจะไปเป็นต้นแบบ หรือนำเสนอให้เด็กได้เรียนรู้ ศึกษา เพื่อกระตุ้นพัฒนาการอย่างสมบูรณ์แบบ

วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 9

 
 
บันทึกอนุทิน
 
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
 
วัน 16 สิงหาคม พ.ศ. 2556
 
เวลา 13.10-16.40 น.
 
เวลาเข้าสอน 13.10 เวลาเรียน 13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40
 
 
 
สิ่งที่ได้จากการเรียน
 
 
แต่ละกลุ่มประดิษฐ์สื่อแต่ละอย่างไม่เหมือนกัน
 
 
 
 
หุ่นนิ้วมือ
 
 
 
 
 

 
 

 
 
 
นำไปใช้ประโยชน์
 
-ได้นำไปเป็นการเรียนในการผลิตสื่อรู้จักสื่อ ขั้นตอนต่างๆ และนำไปประกอบการสอนแก่เด็กปฐมวัยเพื่อให้เด็กและครูเรียนรู้ไปอย่างถูกวิธี
 


วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 8

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

วัน 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เวลา 13.10-16.40 น.

เวลาเข้าสอน 13.10 เวลาเรียน 13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40
  


สิ่งที่ได้จากการเรียน

ให้นักศึกษทุกคนช่วยกันแต่งนิทานจากนั้นพอได้นิทานก็แบ่งกลุ่มวาดเนื้อเรื่องของแต่ละตอนแล้วเข้าเป็นเล่มเดียวกัน















นำไปใช้ประโยชน์


สามารถเป็นแนวคิดในการไปแต่งนิทานให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ และสามารถให้เด็กปฐมวัยช่วยกันคิดว่าจะแต่งนิทานแบบใหน จะทำให้เด็กเกิดความคิด จินตนาการของแต่ละคนออกมา







วันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 7

 
 
 
 
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

วัน 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เวลา 13.10-16.40 น.

เวลาเข้าสอน 13.10 เวลาเรียน 13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40
  



สิ่งที่ได้จากกการเรียน

ตัวอย่างกิจกรรม
 
กิจกรรมส่งเสริมทักษะทางภาษา
 


(สุนัขจิ้งจอก)


- ได้รู้จักขั้นตอนการเล่านิทานแบบเล่าไปให้เด็กวาดภาพไปเพื่อเป็นการฝึกกล้ามเนื้อมักเล็กของเด็กปฐมวัย

 
-เด็กและครูเล่านิทานวาดไปพร้อมๆกัน
 
 
 
 
 
 
 
(ปลาใหญ่กินปลาเล็ก) 
 
 
- อาจารย์ให้ทุกคนวาดภาพคนละ1ภาพและมาประติดประต่อกันให้เป็นนิทาน1เรื่องและทุกคนก็ทำได้ดีจนเป็นนิทานอย่างสมบูรณ์แบบ
 
 
 
 
 
 
นำไปใช้ประโยชน์
 
 
-สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนในวิธีต่างๆเพื่อเสริมทักษะความรู้ต่อไป
-สามารถนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเพื่อเสริมทักษะของเด็กได้ตรงจุดประสงค์



วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 6

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน

วัน 19 กรกฎาคม 2556

เวลา 13.10-16.40

เวลาเข้าสอน 13.10 เวลาเรียน13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40


สิ่งที่ได้จากการเรียน

แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
   
 ก่อนที่จะเรียนอาจารย์ให้ฝึกอ่านคำกับภาพที่นำมารวมเป็นเรื่องราว
น้องมาลีเธอช่างโอโมเราเลยหลงรักเห็นแล้วอยากใกล้ชิด
และอยากเทคแคร์แต่แม่เธอคือมาดามเฮงซึ่งมีเซฟการ์สคอยป้องกัน
น้องอยู่ตลอดส่วนเรามันก็แค่ชาวเกาะเราเลยต้องทำใจ

1.การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา (Skill Approach)
     - ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
     - การประสมคำ
     - ความหมายของคำ
     - นำคำมาประกอบเป็นประโยค
     - การแจกรูปสะกดดคำ การเขียน
การแจกลูกคำ เช่น กู งู ดู พู

     - ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติการใช้ภาษาของเด็ก
     - ไม่สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู็ภาษาของเด็ก

"Kenneth Goodman"
     - เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
     - มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
     - แนวทางการสอนมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
Goodman
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
     - สนใจ อยากรู้อยาากเห็นสิ่งรอบตัว
     - ช่างสงสัย ช่างซักถาม
     - มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
     - ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
     - เลียนแบบคนรอบข้าง

2.การสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language)
ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ

นำไปใช้ประโยชน์

ได้รู้จักนำเอารูปมาผสมกับภาษาทำให้เด็กสนใจที่จะเรียนรู้

เรียนครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน

วัน 12 กรกฎาคม 2556

เวลา 13.10-16.40

เวลาเข้าสอน 13.10 เวลาเรียน13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40




นำเสนอต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว

สิ่งที่ได้จากการเรียน 

กลุ่ม 8


จากการฟังบรรยายวีดีโอ
     พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กปฐมวัยเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความคิดและความเข้าใจของเด็ก
ลำดับขั้น
1. อายุ0-2 ปี >> ทดลองใช้พฤติกรรม ลองผิดลองถูก
2. อายุ2-4 ปี >> เริ่มใช้ภาษาและเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์
3. อายุ5 ปี    >> เริ่มเข้าใจเกี่ยวกับขนาด
พัฒนาการ
    กระบวนการพัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างของร่างกายและแบบแผนของร่างกายทุกส่วน การเปลี่ยนแปลงนี้จะก้าวหน้าไปเรื่อยๆเป็นขั้นอตน จากระยะหนึ่งไปอีกระยะหนึ่ง ทำให้เด็กมีลักษณะและความสามารถใหม่ๆ เกิดขึ้น ซึ่งมีผลทำให้เจริญก้าวหน้าตามลำดับทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
องค์ประกอบของสติปัญญา    
     1. ความสามารถทางภาษา
     2. ความสามารถทางตัวเลข
     3. ความสามารถทางการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
     4. ความสามารถทางการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
     5. ความสามารถทางความจำ
     6. ความสามารถทางเชิงสังเกต
     7. ความสามารถทางมิติสัมพันธ์
โครงสร้างของสติปัญญา (สติปัญญาเน้นสร้างและระดับทางการคิด)
     1. การรับรู้
     2. ความจำ
     3. การเกิดความคิดเห็น
พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
     วัยทารกอายุแรกเกิด-2ปี
พัฒนาการเด็กในช่วงนี้เป็นรากฐานสำคัญ มีพัฒนาการทางร่างกายมากกว่าทุกวัย ปกติมากกว่า 2 เท่า และจะลดลงถึง 30% การใช้ปฏิกิริยาสะท้อนกลับมากระทบจะเกิดขึ้นซ้ำอีกเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เด็กมีทั้งสิ้น 11 อารมณ์



การจัดประสบการณ์ให้เด็กง่ายๆ ควรจะให้เด็กบรรยายตามภาพง่ายที่สุด
องค์ประกอบของภาษา
1. Phonology (เสียง)
     - คือระบบเสียงของภาษา
     - เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
     - หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำ เป็นภาษา

            รูป จ/า/น
2.Semantic (ความหมาย)
     - คือความหมายของภาษาและคำศัพท์
     - คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายความหมาย
     - ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
          
       รูป
3. Syntay (ไวยากรณ์)
    - คือระบบไวยากรณ์
    - การเรียงรูปประโยค
4. Pragmatic (การนำไปใช้)
     - คือระบบการนำไปใช้
     - ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ 


แนวคิดนักการศึกษา
1. แนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม (การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือนิสัยเด็กโดยใช้แรงเสริมไม่ว่าจะเป็นทางบวกหรือทางลบ)
     1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Skinner
       - สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
       - ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง


Skinner

     2. John B. Watson
       - ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
      - การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้และผู้ใหญ่ที่จะสามารถวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ทุกพฤติกรรม


John B. Watson

     นักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า
- ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
- การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
- เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
- เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรมเมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว




2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
     1. Piaget
       - เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
       - ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก
Piaget

     2. Vygotsky
       - เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
       - สังคมบุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
       - เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
       - ผู้ใหญ่ควรช่วยชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก

Vygotsky

3. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย
     1. Arnold Gesell
        - เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
        - ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
        - เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
        - เด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง

Gesell

4. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
    1. Noam Chomsky
      - ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
      - การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
      - มนุษย์ที่เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษามาตั้งแต่เกิดเรียกว่า LAD (Language Acquisition Device)


Noam Chomsky
     2. O. Hobart Mower
       - คิดค้นทฤษฎีความพึงพอใจ
" จะนึกถึงคำพูดคำแรกที่เด็กพูด เกิดจะความสามารถในการฟังเพลง ความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเลข เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษา"

Hobart Mower



แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
     - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
     - นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน

Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
     1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
        - นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
        - เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำ วลี หรือประโยค
     2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
       - เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
       - การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
       - ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
     3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
       - เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
       - การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
       - เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา


นำไปใช้ประโยชน์

ได้รู้จักเทคนิคการนำเสนอ และทฤษฎีของแต่ละคนเพื่อประโยชน์ในการศึกษาเพื่อไปพัฒนาเด็กปฐมวัย